"ดินแดนแห่งสายหมอก ซากุระบานหน้าหนาว ชิมชาเลิศรส วัฒนธรรมหลากหลาย อากาศเย็นสบายตลอดปี"

 
                การเดินทางไปยัง ดอยแม่สลอง ถือว่าสะดวกสบายมากอาจเดินทาง โดยรถยนต์ส่วนตัวหรือรถสองแถวประจำทาง(แม่จัน-ท่าตอน)และ(ป่าซาง-แม่สลอง) ซึ่งอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 75 กิโลเมตร ตามถนนสายเชียงราย -แม่จัน จะใช้เวลาเดินทางประมาณ 1.5 ชั่วโมง

                ดอยแม่สลองเป็นชื่อเรียกรวม ๆ ของชุมชนชาวจีนยูนนานแห่งกองพล 93 ที่ตั้งหลักแหล่งบนดอยแห่งนี้มานานกว่า 45 ปี ด้วยเสน่ห์ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวมากก็คือสภาพภูมิอากาศที่เย็นสบายตลอดปี และความงามของดอกซากุระแห่งเมืองไทย(ดอกนางพญาเสือโคร่ง)ที่จะผลิบานช่วงหน้าหนาว บนดอยแม่สลอง อีกทั้งยังมีกลุ่มคนหลายเผ่าพันธุ์หลากอารยธรรมอาศัยอยู่ด้วยกัน ได้แก่ชาวจีนยูนนาน ชาวอาข่า ชาวไทยใหญ่ เป็นต้น

               ปัจจุบันชุมชนชาวจีนบนดอยแม่สลองมีชื่อว่า หมู่บ้านสันติคีรี ตั้งอยู่ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลเฉลี่ย 1,200 เมตร รายได้หลักมาจากการปลูกชาโดยเฉพาะ ชาอู่หลง ซึ่งที่นี่จึงมีชาพันธุ์ดีไว้ให้ชิมและหาซื้อได้มากมาย บ้านสันติคีรีเป็นชุมชนขนาดใหญ่ มีประชากรประมาณ 800
หลังคาเรือน หลากหลายศาสนารวมกัน มีวัดสันติคีรีที่สวยงามบนยอดดอยแม่สลอง ,โบสถ์คริสต์จักร และ มัสยิด รวมทั้งสาธารณูปโภคระบบไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ อินเตอร์แน็ตความเร็วสูง , ร้านค้าขายของที่ระลึกต่างๆ , ร้านชากาแฟ ,ร้านเบอเกอรี ,ร้านสะดวกซื้อ 7-11 รวมถึง ธนาคารทหารไทย ที่ให้บริการอย่างสมบูรณ์แบบและยังมีอาหารจีนยูนนานเลิศรสหลากหลาย อีกมากมาย ที่มีชื่อ เสียงเป็นเอกลักษณ์ของที่นี่ ไม่ว่าจะเป็น ขาหมูหมั่นโถ สุกี้ยูนาน,ผัดผักยอดมะระหวาน,ผัดผักยอดถั่วลันเตาไว้คอยบริการในรสชาติไม่ต่างจากสูตรดังเดิม

Past….to …Future

                Doi Maesalong is the retirement Chinese Soldier Community Division 93 of KuoMintang Party. These soldiers used to work under control of general Chiang Kai-Shek and joined the war in south part of China around World War II period. After that moment there was a big changing in China when the communism party with the reader, Mao Tse-tung, had success talking over the power. So KuoMintang Party had to move to Taiwan and the Division 93 was in very serious situation and had to move to Myanmar and they had to fight with Burmese soldiers, too Because of the reasons they had to move down until Doi Tung area in Thailand.

                Myanmar used to request to United Nations on 1953 and these was a decision to move this group of soldiers to Taiwan but there were many soldiers under control of General Lee Wern Fan and General Tuan See Wern around 30,000 soldiers tried to request to stay in Thailand because they worried about their future in Taiwan cause it was just a small island.

                On 1961 Thai Government allowed this group of soldiers could stay in Thailand. General Lee Wern Fan group stayed in Ngob cave in Fang District Chiang Mai Province and the group of General Tuan See Wern 15,000 soldiers lived in Doi Maesalong area. After that around 1969 these soldiers volunteered to join with Thai Army to fight with Communist Terrorist around Doi Luang, Doi Yao, Doi Pha Mon until even situation. From that moment, Thai Government agreed to accept they were useful for Thailand until 1972,the government had decision to receive these soldiers to become Thai citizenship. They were about 5,000 people including their family. On 1981 General Pram Thinnasulanon was in the position of the Thailand prim minister at the moment, these Thai people volunteered to fight with Communism Terrorist around Kao Kho, Kao Ya in Pechabul Province until in finished. Almost of them were in agriculture business and on the period of the prim minister General Kriengsak Chamanun , there was another project to start growing tea and Kesiya pine instead of the losing forest on Doi maesalong. After that moment Doi Maesalong became more well-know and became an important interesting place for many tourists and they gave the name” Ban Suntikeeree” means the village of peaceful hill and in Chinese language is Mei Su Lor , means beaytiful gentle and peaceful, Doi Maesalong will have meaning like the peaceful, gentle and cleaning city.





美斯樂簡介
美斯樂(英文:Mae Salong或Santikhiri,泰文:แม่สลอง或สันติคีรี),位於泰國北部清萊府,是泰國重要的茶葉生產基地和旅遊聖地,素有「泰國春城」、「中國村」之美稱。泰北孤軍93師官兵及其後代很多都生活在這個地處泰國北部山區的美斯樂,在美斯樂除了華人外,還有5個泰國少數民族[1]。台灣著名作家柏楊所著的《異域》及據此改編的由朱延平執導的電影《異域》[2]都是描寫生活在美斯樂的中國人在異國他鄉自力更生、頑強不息的奮鬥過程。雖說他們身處異國,但我們還是能看到他們赤忱的愛國之心,那兒的墓地全部都朝向北方,那兒有他們心中的家鄉——中華民國。

前言..
美斯樂位於泰北清萊府美發弄(皇太后)縣美斯樂鄉,約七千餘人口,居民絕大部份為雲南人,其他為阿卡族、拉祜族、傈僳族、佤族、瑤族及擺夷族等。現階段村民多以務農和觀光業為主。美斯樂是一個以中國人為主的村落,在他鄉生根發芽,永遠傳承中華道統的地方。
美斯樂距離清萊市75公里,車程1.5小時 天氣一年四季非常涼爽。
歷史沿革
50多年前;國共內戰,國民黨政府軍戰敗,退守台灣,部份駐雲南省國民軍撤往緬甸,集結兩萬餘人馬組成「雲南反共救國軍」,由李彌將軍任總指揮。
1953年,緬甸政府狀告聯合國,在國際施壓下;軍眷兩次撤台,一萬多軍民,經由泰國搭機撤到台灣,其餘滯留三千多名軍士,重新編組成以三、五軍為主的游擊隊,自此駐紮泰緬邊境,譜寫出悲壯淒涼的歷程。
1960年第五軍 段希文將軍率領軍眷輾轉進入清萊美斯樂,第三軍李文煥將軍則率隊駐留清邁塘窩村,為求生存淪為泰政府僱佣軍,兩軍聯手為泰國政府掃蕩境內反政府異動分子,犧牲數百官兵生命,敉平泰北戰亂,換取在泰國居留的權利。
戰事平息,泰國政府逐步解除三、五軍武裝,軍眷分批歸化入泰籍,就地居留,在荒蠻叢林間刀耕火種,就此過著跟外界幾乎完全隔絕的日子。隨著公路開通,美斯樂有了電、有了自來水,同時也獲得台灣救總的資源,提供優質農業技術,村民生活有了改善,村裡大部分青年到城市打工、到台灣升學,不斷匯回資金,增進地方設施,泰國政府協助開發觀光業,短短十幾年,整個村寨改頭換面,從竹籬茅屋變成了磚瓦樓房,餐廳、旅館應應而生,遊客慕名而來,美斯樂已蛻變成泰北旅遊勝地。

領導人
段希文將軍是泰北義民同胞共同推崇的領導人,將軍一生戎馬,以營為家,治軍嚴謹、愛護袍澤,深得全體部屬軍民愛戴,後半生帶領軍眷長駐泰北,除軍事方面成為泰國北方長城外,至今為後世永懷不忘之大者:
其一、組織雲南會館:積極促進雲南同鄉溶入泰國主流社會。
其二、引進優質農作:將台灣優良茶種及其踏高經濟農作引來種植,成為泰北居民一大主要經濟來源。
其三、建立興學辦校:在經費拮椐困境下,為延續中華文化,毅然創建興華中學,德澤為後人感念至今。將軍一生於國於民,足為後世典範,永垂中泰青史,萬世流芳。1980年6月18日,因心臟病猝發不治,逝於泰京披耶泰醫院,享年七十。
段將軍逝世後,由原參謀長雷雨田將軍領導,考可、考牙戰亂平息後,軍隊卸甲歸田,軍民投入農耕,卻遭受部份政客排斥詆毀,指中國人把北部山區破壞殆盡,引起山下水源銳減,因此雷將軍推動全體軍民種樹護林,用建林來反擊。同時積極推廣高經濟價值農產品,開發觀光業。美斯樂兩代領導人,風格迴異,一位將人民由戰亂中拉拔出來,一位將人民經濟推上坦途,都是美斯樂安定繁榮的兩大功臣。
美斯樂現已進入第三代領導時期,鄉長李文壇是孤軍第二代,依泰國法令由鄉民選舉產生,一切行政悉依縣府體制施行。

推展觀光業
泰國政府為早日使山區脫離以往生活方式,大力協助推廣旅遊事業,餐廳、旅館、民宿、露營區、便利商店、銀行等各類配套設施應有盡有,近年來已成為泰北一個新奇的觀光點,吸引無數國內外旅客,為美斯樂帶來了空前未有的財富。

觀光景點
昔日第五軍的幹部訓練班變更的花園餐廳和小木屋、興華中學舊校址、白塔寺、泰北義民文史館、農場、茶園等。由於美斯樂居民仍保留中華民俗和傳統,每逢新年及中國農曆年是遊客最盛時期。

交通
經過泰國國防部多年整修,美斯樂現有兩條雙線柏油連外道路,路況極佳,一條經由芒崗村可通往滿星疊區、密賽區(泰緬交界),一條是可直達清邁芳縣或清萊的新路。村中主要居住地都已鋪上柏油,場業道路則由各家自行出資興建,多為水泥或石材路。

農作物
美斯樂地處高山,水源小,日常民生用水從泰緬邊界引溪水來用,以往村民大量種植荔枝、梅子、李子、柿子、薑等經濟作物,由於水源不足,收成有限。在泰國政府推動下,茶葉種植規模日益擴大,茶種有台茶、軟枝烏龍、金宣等由台灣引進的茶種和栽培技術,品質大幅提昇,其他農作有咖啡,橘子、高山蔬菜、香菇等高價值產品,已成為本地重要的經濟收入。

觀念及處境
國家興亡匹夫有責的孤臣孽子的心情,多年來;一直是美斯樂老一輩堅定不移的立身信念,長期在困苦環境中,忠貞的以中華國統自居,隨著大環境的轉變,兩岸種種恩怨已成歷史,上一代人所執著的民族家國大義漸漸式微,時移勢異,這一代的村民很多觀念都已改變。居住在泰國國土還能堅守中華民族孝悌仁愛道統,無忝於祖先,順勢溶入泰國社會將是勢所必然而迫切的趨勢。
今天台灣政情本土意識抬頭,對泰北難民的處境,似乎不再是他們有責任處理的事,已是一群撇清關係的海外移民群了。

宗教信仰
本村居民信仰自由,各宗教族群相處融洽,各自發展,每遇宗教活動,不分彼此相互支援。泰國小乘佛教僧侶,已於各村立廟弘法。而大乘教派尚沒有正式道場,近年最熱衷於傳教的是一貫道,有定期、長期、固定的場所給道親進修,基督教有禮拜堂為主宣傳福音,伊斯蘭教則以清真寺為中心,是美斯樂穆斯林的信仰所在地,每日都能定時聽到呼經的聲音。但大家不管信仰是什麼,都相處一家親,彼此尊重,相互包容。

華校教育
美斯樂是一個總稱,內中再分為:美斯樂本村、蔣家寨、董家寨、永樂新村、羅家寨、芒崗、完塔、馬場等村子,大家多年來都十分重視中文的沿續,只要有能力,都會興辦中文學校,現中文學校小學部有: 蔣家寨華興小學(由新加坡宗教團體認養,學生免交學費。)、董家寨德福小學、永樂新村成功小學、羅家寨美華小學、完塔村完塔小學、榮民之家誨明小學(由教會認養,免學費。);中學部有兩所:新成立的芒崗文明中學(由台商秦先生及香港教會支持)、及曾為泰北第一學府的興華中學。
教材都採取台灣國立編譯館編印的課本,教授時間除週六全天外,都在下午泰文放學後開始,四點半到八點之間,授課節數各校不同,科目多以國語數學為主,有經費的學校會多加英文,有的學校有加教國學,教導簡易些唐詩、三字經之類傳統國學。
泰文方面到高中部,但教法遠較山下鬆散,學生泰文造詣不高。中文中三畢業後,一部份學生考台灣升學考,考上後赴台升學。部份往滿堂就讀建華綜合高級中學,小部份繼續泰文大學或高職,其餘大部份往曼谷工作。

結語
美斯樂是個國共內戰沿續下來的村子,早以遠離戰火,人民生活安定,逐漸泰化的雲南人的村子,不管今後國共如何走,都永逺以身為中國人為榮,以身為中國人為傲,以身為泰國子為榮,永遠是炎黃子孫佛國的一員,大家所共同期許的是,佛國永遠昌泰、海峽兩岸早日完成統一大業,讓東方的巨龍絢麗騰飛。



สงวนสิทธิ์ข้อมูลทั้งหมดภายในเว็บไซต์นี้โดย บ้านซือซือ เมาท์เทนวิว
18/3 หมู่ 1, ต.แม่สลองนอก, อ.แม่ฟ้าหลวง, จ.เชียงราย, Mobile: 081-8828463
Website: http://baanseesee.com, baanseesee1@gmail.com